เป้าหมายหลัก (Understanding Goal)

เป้าหมายหลัก (Understanding Goal)

Week7

เป้าหมาย:
Week
Input
Process
Output
Outcome

โจทย์
- พยัญชนะภาษาไทย ผ-ม  
- นิทานนิทานพยัญชนะเล่ม ๕
คำถาม:

หลักภาษา
- พยัญชนะในภาษาไทย

เครื่องมือคิด :
Brainstorms : ระดมสมองเพื่อแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับนิทานที่อ่าน
Blackboard  Share : แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับคำศัพท์ที่มีในเนื้อ
 Show and Share : ประโยคที่แต่งจากคำศัพท์
Wall Thinking : นิทานและคำศัพท์


วันจันทร์
ชง:
-ครูและนักเรียนกล่าวคำทักทายและไหว้ซึ่งกันและกันอย่าง
นอบน้อม
- ครูพานักเรียนทบทวนพยัญชนะในภาษาไทย ก-ฮ โดยการออกเสียง และคิดคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องก่อนนำเข้าสู่บทเรียน
เชื่อม :
-นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น
-ครูเขียนพยัญชนะบนกระดาน และนักเรียนร่วมกันออกเสียงพยัญชนะ
ชง:
-ครูมีรังผึ้งมาให้นักเรียนทุกคนคนละหนึ่งรัง ในรังผึ้งจะมีพยัญชนะ
-ครูพานักเรียนร้องเพลง “ผึ้ง”และทำท่าทางประกอบ
-ครูจะเลือกรังผึ้ง ๑ รังและนำมาบีบหาน้ำหวาน (บัตรพยัญชนะ)
-ครูเล่านิทานพยัญชนะ -ม  ให้นักเรียนฟังทีละ ๑ เรื่อง
-ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนสังเกตเห็นอะไร มีพยัญชนะตัวไหนบ้าง และมีคำว่าอะไรบ้าง
ชิ้นงาน
- เขียนคำศัพท์บนกระดาน
ภาระงาน
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับนิทานที่อ่าน
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับที่มีในเนื้อเรื่อง นิทานพยัญชนะเล่ม ๑

- นักเรียนนำเสนอประโยคที่แต่ง
จากคำศัพท์ในนิทาน







ความรู้
- รู้และเข้าใจพยัญชนะในภาษาไทย โดยสามารถออกเสียงได้ชัดเจน
- เข้าใจความหมายของคำ และฝึกอ่านออกเสียงพยัญชนะและคำศัพท์ ในเนื้อเรื่องที่อ่านได้
ทักษะ
- มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนความคิด ทัศนคติที่มีต่อเรื่องที่อ่านกับเพื่อนในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์
- มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเองในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม และเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นได้
คุณลักษณะ
เคารพและเห็นคุณค่าของตัวเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ ระหว่างการเรียนและร่วมกิจกรรม
- รักการอ่าน
Week
Input
Process
Output
Outcome
สื่อ และแหล่งเรียนรู้ :
- ตัวพยัญชนะภาษาไทย

-นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น
-ครูเขียนคำศัพท์ไว้บนกระดานพร้อมวาดภาพ
-ครูและและนักเรียนออกเสียงพยัญชนะ
-ครูเขียนคำศัพท์ไว้บนกระดานพร้อมวาดภาพ
เชื่อม :
 -นักเรียนเลือกคำศัพท์มาทำเป็นจานคำศัพท์

 วันอังคาร
ชง:
-ครูและนักเรียนกล่าวคำทักทายและไหว้ซึ่งกันและกันอย่าง
นอบน้อม
- ครูพานักเรียนทบทวนพยัญชนะในภาษาไทย ก-ฮ โดยการออกเสียง และคิดคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องก่อนนำเข้าสู่บทเรียน
เชื่อม :
-นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น
-ครูเขียนพยัญชนะบนกระดาน และนักเรียนร่วมกันออกเสียงพยัญชนะ
ชง:
-ครูมีรังผึ้งมาให้นักเรียนทุกคนคนละหนึ่งรัง ในรังผึ้งจะมีพยัญชนะ
-ครูพานักเรียนร้องเพลง “ผึ้ง”และทำท่าทางประกอบ
-ครูจะเลือกรังผึ้ง ๑ รังและนำมาบีบหาน้ำหวาน (บัตรพยัญชนะ)
-ครูเล่านิทานพยัญชนะ -ม  ให้นักเรียนฟังทีละ ๑ เรื่อง
-ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนสังเกตเห็นอะไร มีพยัญชนะตัวไหนบ้าง และมีคำว่าอะไรบ้าง
-นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น
-ครูเขียนคำศัพท์ไว้บนกระดานพร้อมวาดภาพ
-ครูและและนักเรียนออกเสียงพยัญชนะ
-ครูเขียนคำศัพท์ไว้บนกระดานพร้อมวาดภาพ
เชื่อม :
 -นักเรียนเลือกคำศัพท์มาทำเป็นจานคำศัพท์

วันศุกร์
ชง:
-ครูและนักเรียนกล่าวคำทักทายและไหว้ซึ่งกันและกันอย่าง
นอบน้อม
- ครูพานักเรียนทบทวนพยัญชนะในภาษาไทย ก-ฮ โดยการออกเสียง และคิดคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องก่อนนำเข้าสู่บทเรียน
เชื่อม :
-นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น
-ครูเขียนพยัญชนะบนกระดาน และนักเรียนร่วมกันออกเสียงพยัญชนะ
ชง:
-ครูมีรังผึ้งมาให้นักเรียนทุกคนคนละหนึ่งรัง ในรังผึ้งจะมีพยัญชนะ
-ครูพานักเรียนร้องเพลง “ผึ้ง”และทำท่าทางประกอบ
ครูจะเลือกรังผึ้ง ๑ รังและนำมาบีบหาน้ำหวาน (บัตรพยัญชนะ)
-ครูเล่านิทานพยัญชนะ -ม  ให้นักเรียนฟังทีละ ๑ เรื่อง
-ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนสังเกตเห็นอะไร มีพยัญชนะตัวไหนบ้าง และมีคำว่าอะไรบ้าง
-นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น
-ครูเขียนคำศัพท์ไว้บนกระดานพร้อมวาดภาพ
-ครูและและนักเรียนออกเสียงพยัญชนะ
-ครูเขียนคำศัพท์ไว้บนกระดานพร้อมวาดภาพ
เชื่อม :
 -นักเรียนเลือกคำศัพท์มาทำเป็นจานคำศัพท์
-ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับพยัญชนะที่ได้เรียนทั้งสัปดาห์











บันทึกหลังสอน
สิ่งที่ประทับใจ ประทับใจเด็กๆที่ครูเล่าเรื่อง เด็กๆช่วยคิดเชื่อมโยงเรื่องราวจากนิทานเข้ากับเรื่องราวในชีวิตของตนเอง ไม่ว่าจะเป็นวิถีชีวิตความเป็นอยู่ เด็กๆจะขอเล่าให้ครูและเพื่อนๆฟังเสมอเมื่อเด็กๆเด็กได้ฟังเรื่องราวจากนิทานที่ฟังจากนิทาน รวมถึงเชื่อมโยงและเปลียบเทียบการใช้ภาษา เช่น คำว่าแย้ เด็กๆจะบอกว่าบ้านผมไม่ได้เรียกแบบนี้นะคับครู แต่ผมรู้ว่ามันเรียกต่างกัน จากนั้นเด็กชายก็เล่าเรื่องราวเกี่ยวกับแย้ให้เพื่อนๆฟังอย่างสนุกสนาน
จะดีกว่านี้ถ้า ครูเปิดโอกาสให้เด็กได้มีโอกาสที่จะแชร์หรือเล่าเรื่องราวของตนเองมากกว่านี้ เพราะดูเหมือนว่าเด็กอยากเล่าเรื่องราวของตนเอง ครูคิดส่าครูกำลังปิดกั้นจินตนาการของเด็กอยู่ทั้งนี้เนื้องจากครูห่วงว่าเด็กจะไม่ได้ทำชิ้นงาน แต่แท้จริงความรู้ก็ไม่ได้วัดกันที่ตัวชิ้นงานของเด็กเสมอไป


ภาพกิจกรรมการเรียนรู้









ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น