เป้าหมาย:
|
||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
๕
|
โจทย์
- พยัญชนะภาษาไทย ท-ป
- นิทานพยัญชนะเล่ม ๔
คำถาม: หลักภาษา - พยัญชนะในภาษาไทย
เครื่องมือคิด :
Brainstorms : ระดมสมองเพื่อแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับนิทานที่อ่าน
Blackboard Share : แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับคำศัพท์ที่มีในเนื้อ
Show and Share : ประโยคที่แต่งจากคำศัพท์
Wall Thinking : นิทานและคำศัพท์ |
วันจันทร์
ชง:
-ครูและนักเรียนกล่าวคำทักทายและไหว้ซึ่งกันและกันอย่าง
นอบน้อม
-
ครูพานักเรียนทบทวนพยัญชนะในภาษาไทย ก-ฮ โดยการออกเสียง และคิดคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องก่อนนำเข้าสู่บทเรียน
เชื่อม :
-นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น
-ครูเขียนพยัญชนะบนกระดาน
และนักเรียนร่วมกันออกเสียงพยัญชนะ
ชง:
-นักเรียนนั่งรอบเป็นวงกลมและล่นเกม “มอนซ่อนผ้า”
-ครูมีตุ๊กตาติดพยัญชนะให้นักเรียนเล่นเกมมอนซ่อนผ้าจากนั้นนักเรียนร่วมกันร้องเพลง
-นักเรียนที่มีตุ๊กตาอยู่ข้างหลังจะยืนขึ้นและบอกว่าที่ตุ๊กตามีพยัญชนะตัวใดและออกเสียงอย่างไร
เชื่อม :
-ครูและนักเรียนร่วมกันออกเสียงพยัญชนะตัวนั้น
-ครูเล่านิทานพยัญชนะ
และกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนสังเกตเห็นอะไร มีพยัญชนะตัวไหนบ้าง
และมีคำว่าอะไรบ้าง
|
ชิ้นงาน
- เขียนคำศัพท์บนกระดาน
ภาระงาน
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับนิทานที่อ่าน - นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับที่มีในเนื้อเรื่อง นิทานพยัญชนะเล่ม ๑ - นักเรียนนำเสนอประโยคที่แต่งจากคำศัพท์ในนิทาน |
ความรู้
-
รู้และเข้าใจพยัญชนะในภาษาไทย โดยสามารถออกเสียงได้ชัดเจน
- เข้าใจความหมายของคำ
และฝึกอ่านออกเสียงพยัญชนะและคำศัพท์ ในเนื้อเรื่องที่อ่านได้
ทักษะ - มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนความคิด ทัศนคติที่มีต่อเรื่องที่อ่านกับเพื่อนในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์
-
มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเองในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม
และเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นได้
คุณลักษณะ
- เคารพและเห็นคุณค่าของตัวเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ ระหว่างการเรียนและร่วมกิจกรรม
- รักการอ่าน
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
๕
|
สื่อ และแหล่งเรียนรู้
- ตัวพยัญชนะภาษาไทย |
-ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด“นักเรียนสังเกตเห็นอะไร
มีพยัญชนะตัวไหนบ้าง และมีคำว่าอะไรบ้าง
-ครูและและนักเรียนออกเสียงพยัญชนะ
ครูเขียนคำศัพท์ไว้บนกระดานพร้อมวาดภาพ
ใช้:
-ครูและและนักเรียนออกเสียงพยัญชนะ
-ครูให้นักเรียนเขียนคำที่ตนเองชอบในกรอบรูปไม้ไอศกรีม
วันอังคาร
ชง:
-ครูและนักเรียนกล่าวคำทักทายและไหว้ซึ่งกันและกันอย่าง
นอบน้อม
- ครูพานักเรียนทบทวนพยัญชนะในภาษาไทย
ก-ฮ โดยการออกเสียง และคิดคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องก่อนนำเข้าสู่บทเรียน
เชื่อม :
-นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น
-ครูเขียนพยัญชนะบนกระดาน
และนักเรียนร่วมกันออกเสียงพยัญชนะ
ชง:
-นักเรียนนั่งรอบเป็นวงกลมและล่นเกม “มอนซ่อนผ้า”
-ครูมีตุ๊กตาติดพยัญชนะให้นักเรียนเล่นเกมมอนซ่อนผ้าจากนั้นนักเรียนร่วมกันร้องเพลง
-นักเรียนที่มีตุ๊กตาอยู่ข้างหลังจะยืนขึ้นและบอกว่าที่ตุ๊กตามีพยัญชนะตัวใดและออกเสียงอย่างไร
เชื่อม :
-ครูและนักเรียนร่วมกันออกเสียงพยัญชนะตัวนั้น
-ครูเล่านิทานพยัญชนะ
และกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนสังเกตเห็นอะไร มีพยัญชนะตัวไหนบ้าง
และมีคำว่าอะไรบ้าง
-ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด“นักเรียนสังเกตเห็นอะไร มีพยัญชนะตัวไหนบ้าง
และมีคำว่าอะไรบ้าง
-ครูและและนักเรียนออกเสียงพยัญชนะ
ครูเขียนคำศัพท์ไว้บนกระดานพร้อมวาดภาพ
ใช้:
-ครูและและนักเรียนออกเสียงพยัญชนะ
-ครูให้นักเรียนเขียนคำที่ตนเองชอบในกรอบรูปไม้ไอศกรีม
วันศุกร์
ชง:
ชง:
-ครูและนักเรียนกล่าวคำทักทายและไหว้ซึ่งกันและกันอย่าง
นอบน้อม
-
ครูพานักเรียนทบทวนพยัญชนะในภาษาไทย ก-ฮ โดยการออกเสียง และคิดคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องก่อนนำเข้าสู่บทเรียน
เชื่อม :
-นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น
-ครูเขียนพยัญชนะบนกระดาน
และนักเรียนร่วมกันออกเสียงพยัญชนะ
ชง:
-นักเรียนนั่งรอบเป็นวงกลมและล่นเกม “มอนซ่อนผ้า”
-ครูมีตุ๊กตาติดพยัญชนะให้นักเรียนเล่นเกมมอนซ่อนผ้าจากนั้นนักเรียนร่วมกันร้องเพลง
-นักเรียนที่มีตุ๊กตาอยู่ข้างหลังจะยืนขึ้นและบอกว่าที่ตุ๊กตามีพยัญชนะตัวใดและออกเสียงอย่างไร
เชื่อม :
-ครูและนักเรียนร่วมกันออกเสียงพยัญชนะตัวนั้น
-ครูเล่านิทานพยัญชนะ
และกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนสังเกตเห็นอะไร มีพยัญชนะตัวไหนบ้าง
และมีคำว่าอะไรบ้าง
-ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด“นักเรียนสังเกตเห็นอะไร มีพยัญชนะตัวไหนบ้าง
และมีคำว่าอะไรบ้าง
-ครูและและนักเรียนออกเสียงพยัญชนะ
ครูเขียนคำศัพท์ไว้บนกระดานพร้อมวาดภาพ
ใช้:
-ครูและและนักเรียนออกเสียงพยัญชนะ
-ครูให้นักเรียนเขียนคำที่ตนเองชอบในกรอบรูปไม้ไอศกรีม
|
บันทึกหลังสอน
สิ่งที่ประทับใจ จินตนาการของเด็กทำให้ครูรู้ว่าไม่ควรที่จะปิดกั้น ไม่ตีกรอบความคิดของเด็ก สิ่งที่ได้มาคือ การวาดภาพของเด็กและเด็กๆสามารถเล่าเรื่องหรือบรรยายตามภาพได้อย่างดี แค่ภาพวาดหนึ่งภาพจากเด็กตัวเล็กๆนั้นสามรถสื่อให้เห็นถึงสิ่งแวดล้อมรอบข้าง ภูมิหลัง รวมถึงจิตใจของเด็กที่สื่อให้เห็นถึงการมีจิตใจเมตตากรุณา
จะดีกว่านี้ถ้าการเล่าเรื่องหรือดำเนินเรื่องของครูรวดเร็วกว่านี้ และครูควรที่จะให้เด็กๆได้มีส่วนร่วมในการวางแผนการแต่งนิทานด้วยตนเองมากว่านี้ เช่นให้เด็กๆออกมาวาดด้วยตัวเอง ตั้งชื่อตัวละครเอง
ภาพกิจกรรมการเรียนรู้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น