เป้าหมายหลัก (Understanding Goal)

เป้าหมายหลัก (Understanding Goal)

Week3


แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชา ภาษาไทย

ระดับชั้นอนุบาล ๒ ภาคเรียนที่ ๒ (Quarter๔) ปีการศึกษา ๒๕๕๘


เป้าหมาย:
Week
Input
Process
Output
Outcome

โจทย์
- พยัญชนะภาษาไทย -ฏ 
- นิทานนิทานพยัญชนะเล่ม ๒

 

คำถาม:

หลักภาษา
- พยัญชนะในภาษาไทย

เครื่องมือคิด :
Brainstorms : ระดมสมองเพื่อแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับนิทานที่อ่าน
Blackboard  Share : แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับคำศัพท์ที่มีในเนื้อ
 Show and Share : ประโยคที่แต่งจากคำศัพท์
Wall Thinking : นิทานและคำศัพท์

วันจันทร์
ชง:
-ครูและนักเรียนกล่าวคำทักทายและไหว้ซึ่งกันและกันอย่าง
นอบน้อม
- ครูพานักเรียนทบทวนพยัญชนะในภาษาไทย ก-ฮ โดยการออกเสียง และคิดคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องก่อนนำเข้าสู่บทเรียน
ครูมีตะกร้าแม่ไก่มาให้นักเรียนดู และกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนเห็นอะไร แล้วข้างในจะมีอะไรนะ”
แล้วกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนสังเกตเห็นอะไร มีพยัญชนะตัวไหนบ้าง
/และมีคำว่าอะไรบ้าง/เคยเจอหรือได้ยินอยู่ที่ไหนบ้าง/นักเรียนชอบคำศัพท์ใดในเรื่อง/เพราะเหตุใดอบน้อม
เชื่อม :
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับคำศัพท์ที่มีในเนื้อเรื่อง โดยครูช่วยเขียนคำศัพท์เหล่านั้นบนกระดาน
ชง
:
-ครูถือตะกร้าไข่ไปหานักเรียนที่น่ารักและให้นักเรียนหยิบไข่คนละ ๑ ฟอง โดยไข่จะมีสีที่แตกต่างกัน ในขณะที่ถือตะกร้าไข่ครูร้องเพลง “แม่ไก่”
-นักเรียนได้ไข่ครบแล้ว ครูใช้คำถามสิ่งที่นักเรียนได้คืออะไร และมีสีอะไร และนักเรียนสังเกตเห็นอะไรในไข่ใบนั้นที่นักเรียนถืออยู่
-นักเรียนร่วมกันแสดงความคำเห็น
เชื่อม :
-นักเรียนร่วมกันแสดงความคำเห็น
-ครูเล่านิทานพยัญชนะเล่ม ๒
 
ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด“นักเรียนสังเกตเห็นอะไร มีพยัญชนะตัวไหนบ้าง และมีคำว่าอะไรบ้าง
ใช้:
-ครูเขียนคำศัพท์ไว้บนกระดานพร้อมวาดภาพและให้เรียนเขียนตามและออกเสียงพยัญชนะ

ชิ้นงาน
- เขียนคำศัพท์บนกระดาน
ภาระงาน
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับนิทานที่อ่าน
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับที่มีในเนื้อเรื่อง นิทานพยัญชนะเล่ม ๑

- นักเรียนนำเสนอประโยคที่แต่ง
จากคำศัพท์ในนิทาน







ความรู้
- รู้และเข้าใจพยัญชนะในภาษาไทย โดยสามารถออกเสียงได้ชัดเจน
- เข้าใจความหมายของคำ และฝึกอ่านออกเสียงพยัญชนะและคำศัพท์ ในเนื้อเรื่องที่อ่านได้
ทักษะ
- มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนความคิด ทัศนคติที่มีต่อเรื่องที่อ่านกับเพื่อนในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์
- มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเองในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม และเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นได้
คุณลักษณะ
เคารพและเห็นคุณค่าของตัวเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ ระหว่างการเรียนและร่วมกิจกรรม
- รักการอ่าน
สื่อ และแหล่งเรียนรู้ :
- ตัวพยัญชนะภาษาไทย

วันอังคาร
ชง:
-ครูและนักเรียนกล่าวคำทักทายและไหว้ซึ่งกันและกันอย่าง
นอบน้อม
เชื่อม :
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับคำศัพท์ที่มีในเนื้อเรื่อง โดยครูช่วยเขียนคำศัพท์เหล่านั้นบนกระดาน
ชง
:
-ครูถือตะกร้าไข่ไปหานักเรียนที่น่ารักและให้นักเรียนหยิบไข่คนละ ๑ ฟอง โดยไข่จะมีสีที่แตกต่างกัน ในขณะที่ถือตะกร้าไข่ครูร้องเพลง “แม่ไก่”
-นักเรียนได้ไข่ครบแล้ว ครูใช้คำถามสิ่งที่นักเรียนได้คืออะไร และมีสีอะไร และนักเรียนสังเกตเห็นอะไรในไข่ใบนั้นที่นักเรียนถืออยู่
-นักเรียนร่วมกันแสดงความคำเห็น
เชื่อม :
-นักเรียนร่วมกันแสดงความคำเห็น
-ครูเล่านิทานพยัญชนะเล่ม ๒
 
ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด“นักเรียนสังเกตเห็นอะไร มีพยัญชนะตัวไหนบ้าง และมีคำว่าอะไรบ้าง
ใช้:
-ครูเขียนคำศัพท์ไว้บนกระดานพร้อมวาดภาพและให้เรียนเขียนตามและออกเสียงพยัญชนะ
วันศุกร์
ชง:
-ครูและนักเรียนกล่าวคำทักทายและไหว้ซึ่งกันและกันอย่าง
นอบน้อม
เชื่อม :
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับคำศัพท์ที่มีในเนื้อเรื่อง โดยครูช่วยเขียนคำศัพท์เหล่านั้นบนกระดาน
ชง
:
-ครูถือตะกร้าไข่ไปหานักเรียนที่น่ารักและให้นักเรียนหยิบไข่คนละ ๑ ฟอง โดยไข่จะมีสีที่แตกต่างกัน ในขณะที่ถือตะกร้าไข่ครูร้องเพลง “แม่ไก่”
-นักเรียนได้ไข่ครบแล้ว ครูใช้คำถามสิ่งที่นักเรียนได้คืออะไร และมีสีอะไร และนักเรียนสังเกตเห็นอะไรในไข่ใบนั้นที่นักเรียนถืออยู่
-นักเรียนร่วมกันแสดงความคำเห็น
เชื่อม :
-นักเรียนร่วมกันแสดงความคำเห็น
-ครูเล่านิทานพยัญชนะเล่ม ๒
 
ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด“นักเรียนสังเกตเห็นอะไร มีพยัญชนะตัวไหนบ้าง และมีคำว่าอะไรบ้าง
ใช้:
-ครูเขียนคำศัพท์ไว้บนกระดานพร้อมวาดภาพและให้เรียนเขียนตามและออกเสียงพยัญชนะ
-นักเรียนสรุปองค์ความรู้หลังเรียน




บันทึกหลังสอน
ปรากฏการณ์ระหว่างสอนพี่อนุบาล 2 ตั้งใจเขียนและมีความตื่นเต้นกับถาดที่ใส่เกลือซึ่งวันแรกเป็นสีขาวแต่วันต่อมาได้เพิ่มสีผสมอาหารเข้าไปทำให้เกิดสีสันซึ่งทำให้เด็กสนใจและทุกคนสนใจอยู่กับถาดเกลือของตนเอง
จะดีกว่านี้ถ้าครูเพิ่มการเล่านิทานให้น่าสนใจ เช่น มีอุปกรณ์เพิ่มเติมเพื่อดึงดูดความสนใจจากเด็กๆในการเล่านิทาน เช่น หมาก

ภาพกิจกรรมการเรียนรู้















ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น