เป้าหมายหลัก (Understanding Goal)

เป้าหมายหลัก (Understanding Goal)

Week4

เป้าหมาย:
Week
Input
Process
Output
Outcome

โจทย์
- พยัญชนะภาษาไทย ฐ-ณ     
- นิทานนิทานพยัญชนะเล่ม ๓
คำถาม:

หลักภาษา
- พยัญชนะในภาษาไทย

เครื่องมือคิด :
Brainstorms : ระดมสมองเพื่อแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับนิทานที่อ่าน
Blackboard  Share : แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับคำศัพท์ที่มีในเนื้อ
 Show and Share : ประโยคที่แต่งจากคำศัพท์
Wall Thinking : นิทานและคำศัพท์

วันจันทร์
ชง:
-ครูและนักเรียนกล่าวคำทักทายและไหว้ซึ่งกันและกันอย่าง
นอบน้อม
- ครูพานักเรียนทบทวนพยัญชนะในภาษาไทย ก-ฮ โดยการออกเสียง และคิดคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องก่อนนำเข้าสู่บทเรียน
-ครูสร้างสถานการณ์เหมือนการเข้าค่ายลูกเสือ (กิจกรรมรอบกองไฟ)
-ครูมีต้นไม้หนึ่งต้นวางไว้ที่กลางวงกลมบนต้นไม่ก็จะพยัญชนะแขวนอยู่
-นักเรียนนั่งเป็นกลุ่ม จากนั้นครูจะเชิญนักเรียนทีละ๑กลุ่มยืนขึ้นและรำวงร้องเพลง “พวงมาลัย”แล้วตัวแทนไปหยิบบัตรพยัญชนะที่แขวนอยู่บนต้นไม้มาให้ครู
-ครูก็จะกล่าวว่า “แม่ดอกเอย แม่ดอกที่มีใบหยักๆ ขอเชิญ ฐ มาเล่านิทานให้พี่อนุบาล๒ฟัง” ( ทีละ๑กลุ่มและเล่านิทานทีละ๑เรื่อง)
-ครูเล่านิทานพยัญชนะ ฐ
เชื่อม :
-ครูเล่านิทานพยัญชนะ ฐ
ชิ้นงาน
- เขียนคำศัพท์บนกระดาน
ภาระงาน
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับนิทานที่อ่าน
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับที่มีในเนื้อเรื่อง นิทานพยัญชนะเล่ม ๑

- นักเรียนนำเสนอประโยคที่แต่ง
จากคำศัพท์ในนิทาน







ความรู้
- รู้และเข้าใจพยัญชนะในภาษาไทย โดยสามารถออกเสียงได้ชัดเจน
- เข้าใจความหมายของคำ และฝึกอ่านออกเสียงพยัญชนะและคำศัพท์ ในเนื้อเรื่องที่อ่านได้
ทักษะ
- มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนความคิด ทัศนคติที่มีต่อเรื่องที่อ่านกับเพื่อนในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์
- มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเองในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม และเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นได้
คุณลักษณะ
เคารพและเห็นคุณค่าของตัวเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ ระหว่างการเรียนและร่วมกิจกรรม
- รักการอ่าน
Week
Input
Process
Output
Outcome
สื่อ และแหล่งเรียนรู้ :
- ตัวพยัญชนะภาษาไทย

 -ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด“นักเรียนสังเกตเห็นอะไร มีพยัญชนะตัวไหนบ้าง และมีคำว่าอะไรบ้าง
-ครูและและนักเรียนออกเสียงพยัญชนะ
ใช้
-นักเรียนเลือกคำศัพท์มาทำเป็นโมบายจากกล่องนม
 วันอังคาร
ชง:
-ครูและนักเรียนกล่าวคำทักทายและไหว้ซึ่งกันและกันอย่าง
นอบน้อม
- ครูพานักเรียนทบทวนพยัญชนะในภาษาไทย ก-ฮ โดยการออกเสียง และคิดคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องก่อนนำเข้าสู่บทเรียน
-ครูสร้างสถานการณ์เหมือนการเข้าค่ายลูกเสือ (กิจกรรมรอบกองไฟ)
-ครูมีต้นไม้หนึ่งต้นวางไว้ที่กลางวงกลมบนต้นไม่ก็จะพยัญชนะแขวนอยู่
-นักเรียนนั่งเป็นกลุ่ม จากนั้นครูจะเชิญนักเรียนทีละ๑กลุ่มยืนขึ้นและรำวงร้องเพลง “พวงมาลัย”แล้วตัวแทนไปหยิบบัตรพยัญชนะที่แขวนอยู่บนต้นไม้มาให้ครู
-ครูก็จะกล่าวว่า “แม่ดอกเอย แม่ดอกที่มีใบหยักๆ ขอเชิญ ฐ มาเล่านิทานให้พี่อนุบาล๒ฟัง” ( ทีละ๑กลุ่มและเล่านิทานทีละ๑เรื่อง)

-ครูเล่านิทานพยัญชนะ ฐ
เชื่อม :
-ครูเล่านิทานพยัญชนะ ฐ
-ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด“นักเรียนสังเกตเห็นอะไร มีพยัญชนะตัวไหนบ้าง และมีคำว่าอะไรบ้าง
-ครูและและนักเรียนออกเสียงพยัญชนะ
ใช้
-นักเรียนเลือกคำศัพท์มาทำเป็นโมบายจากกล่องนม
วันศุกร์
ชง:
-ครูและนักเรียนกล่าวคำทักทายและไหว้ซึ่งกันและกันอย่าง
นอบน้อม
- ครูพานักเรียนทบทวนพยัญชนะในภาษาไทย ก-ฮ โดยการออกเสียง และคิดคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องก่อนนำเข้าสู่บทเรียน
-ครูสร้างสถานการณ์เหมือนการเข้าค่ายลูกเสือ (กิจกรรมรอบกองไฟ)
-ครูมีต้นไม้หนึ่งต้นวางไว้ที่กลางวงกลมบนต้นไม่ก็จะพยัญชนะแขวนอยู่
-นักเรียนนั่งเป็นกลุ่ม จากนั้นครูจะเชิญนักเรียนทีละ๑กลุ่มยืนขึ้นและรำวงร้องเพลง “พวงมาลัย”แล้วตัวแทนไปหยิบบัตรพยัญชนะที่แขวนอยู่บนต้นไม้มาให้ครู
-ครูก็จะกล่าวว่า “แม่ดอกเอย แม่ดอกที่มีใบหยักๆ ขอเชิญ ฐ มาเล่านิทานให้พี่อนุบาล๒ฟัง” ( ทีละ๑กลุ่มและเล่านิทานทีละ๑เรื่อง)
ครูเล่านิทานพยัญชนะ ฐ
เชื่อม :
-ครูเล่านิทานพยัญชนะ ฐ
-ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด“นักเรียนสังเกตเห็นอะไร มีพยัญชนะตัวไหนบ้าง และมีคำว่าอะไรบ้าง
-ครูและและนักเรียนออกเสียงพยัญชนะ
ใช้
-นักเรียนเลือกคำศัพท์มาทำเป็นโมบายจากกล่องนม





บันทึกหลังสอน
สิ่งที่ประทับใจ ประทับใจในความตั้งใจ ควาใสนใจ การใก้ความร่วมมือ รวมถึงการร่วมกันที่จะแต่งนิทานร่วมกันและเห็นความคิด จินตนาที่สร้างสรรค์ของพี่อนุบาล 2 ทำให้ครูมีกำลังใจที่จะสร้างสรรค์กิจกรรมให้พี่ๆได้เรียนรู้ต่อไป
จะดีกว่านี้ถ้าควบคุมเวลาในการจัดกิจกรรมให้เร็วกว่านนี้เพราะพี่รอนานมากกับการเล่านิทาน และอยากทำงานมากกว่าการนั่งฟังนิทาน

ภาพกิจกรรมการเรียนรู้









ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น